Lab Week03 HomeWork 1/3
ครับสำหรับการทำการทดลองนี้ก็คือการทดลอง ใช้บอร์ด Arduino
ควบคุมโดยโปรแกรม LabView เพื่อทดลองว่าสามารถใช้งาน
LabView ทำเป็นสวิช เพื่อควบคุม LED ผ่านบอร์ด Arduino ครับ
ขั้นตอนที่ 1 นำ Source Code โหลดลงบอร์ด
source code อย่าลืมเลือก port ให้ถูกต้องด้วยนะครับ
int led = 3;
int led2 = 4;
int led3 = 5;
int led4 = 6;
int led5 = 7;
int led6 = 8;
int led7 = 9;
int led8 = 10;
int inByte = 0;
int sensorPin = A0;
int sensorValue = 0;
void setup()
{ Serial.begin(9600);
pinMode(led, OUTPUT);
pinMode(led2, OUTPUT);
pinMode(led3, OUTPUT);
pinMode(led4, OUTPUT);
pinMode(led5, OUTPUT);
pinMode(led6, OUTPUT);
pinMode(led7, OUTPUT);
pinMode(led8, OUTPUT);
}
void loop()
{ if (Serial.available() > 0)
{ inByte = Serial.read();
if(inByte == '0') digitalWrite(led, LOW);
if(inByte == '1') digitalWrite(led, HIGH);
if(inByte == '2') digitalWrite(led2, LOW);
if(inByte == '3') digitalWrite(led2, HIGH);
if(inByte == '4') digitalWrite(led3, LOW);
if(inByte == '5') digitalWrite(led3, HIGH);
if(inByte == '6') digitalWrite(led4, LOW);
if(inByte == '7') digitalWrite(led4, HIGH);
if(inByte == '8') digitalWrite(led5, LOW);
if(inByte == '9') digitalWrite(led5, HIGH);
if(inByte == 'a') digitalWrite(led6, LOW);
if(inByte == 'b') digitalWrite(led6, HIGH);
if(inByte == 'c') digitalWrite(led7, LOW);
if(inByte == 'd') digitalWrite(led7, HIGH);
if(inByte == 'e') digitalWrite(led8, LOW);
if(inByte == 'f') digitalWrite(led8, HIGH);
}
//sensorValue = analogRead(sensorPin);
//Serial.print("sensorValue = ");
//Serial.println(sensorValue);
//delay(100);
}
ขั้นตอนที่ 2 ต่อวงจรบอร์ด Arduino Duemilanov เข้ากับวงจร LED@100 ดังรูป
ขั้นตอนที่ 3 เขียน LAB VIEW ดังภาพ
3.1 ต่อสวิทช์ ON OFF ดังภาพ
3.2 กด CTRL+E จะมีหน้าต่าง วงจร loop while ต่างๆ ของ lab view
ไม่ต้องไปใส่ใจมาก ให้เราเข้าไปแก้ค่าที่รับส่งของ สวิทช์ ให้ตรงกับ code ด้านบน
เพื่อให้มีการส่งค่ากันเกิดขึ้น และ ส่งผลให้สวิทช์ ติด หรือ ดับ
จากนั้นเราก็มาดูกันว่าผลการทดสอบเป็นอย่างไร
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น